Posts

Showing posts from November, 2018

การเทรดที่ประสบความสำเร็จ นั้น แค่ “ดีกว่าค่าเฉลี่ย” ก็ยังไม่พอ

Image
Alexander Elder กล่าวว่า การเป็นเพียงแค่ “ดีกว่าค่าเฉลี่ย” ยังไม่เพียงพอ คุณต้องโดดเด่นกว่าใครๆ เพื่อที่จะชนะในเกมที่มีผลรวมติดลบ (Being simply “better than average” is not good enough. You have to be head and shoulders above the crowd to win a minus-sum game.) eBook : คิดและสวิงเทรดเป็นระบบแบบพี่แดน (Dan Zanger) มีจำหน่ายที่แอพ Meb ที่เดียว https://www.mebmarket.com/index.php?action=BookDetails&data=YToyOntzOjc6InVzZXJfaWQiO3M6NzoiMTk5MjQzNSI7czo3OiJib29rX2lkIjtpOjM0NDM3MTt9 ในคำพูดนี้ Alexander Elder กำลังเน้นย้ำว่า ในโลกของการเทรด การเป็นเพียงแค่คนที่ "เก่งกว่าค่าเฉลี่ย" อาจไม่เพียงพอที่จะประสบความสำเร็จได้ เพราะการเทรดไม่ใช่เกมที่ทุกคนสามารถชนะพร้อมกันได้ มันคือเกมที่เรียกว่า เกมที่มีผลรวมติดลบ (minus-sum game) ซึ่งหมายความว่า ทรัพยากรที่หมุนเวียนอยู่ในตลาด เช่น กำไรและขาดทุน ถูกกระจายไปในกลุ่มผู้เล่น แต่เมื่อรวมต้นทุนการเทรด เช่น ค่าธรรมเนียม นายหน้า และค่าเสียโอกาสแล้ว จะทำให้โดยรวมตลาดมีผลขาดทุนสุทธิ "เกมที่มีผลรวมติดลบ" หมายถึงอะไร? การเทรดในตลาดไม่ได้มี...

ทำกำไร 1000% ด้วยหุ้นเทิร์นอะราวด์

Image
หุ้น turnaround  หรือ หุ้นเทิร์นอะราวด์ หรือ หุ้นพลิกฟื้น มีหลายชื่อเรียกมาก นักลงทุนจะทำกำไรได้มากหากซื้อหุ้นช่วงบริษัทกำลังฟื้นตัว หลักการพิจารณาหุ้นประเภทนี้จึงอยู่ที่การวิเคราะห์โมเดลธุรกิจ และแนวโน้มพื้นฐานโดยรวม ซึ่งแนวคิดการพลิกฟื้นกิจการมักต้องอาศัยการพยุงระบบภายในให้เกิดความสมดุลเพียงพอที่กิจการจะดำเนินไปได้ พร้อมกันนั้นผู้บริหารต้องสามารถแก้ปัญหาของสิ่งรบกวนจากภายนอก หรือปรับตัวกิจการให้เข้ากับสิ่งรบกวนภายนอกนั้นให้ได้ สาเหตุที่บริษัทล้มเหลว มาจาก สาเหตุภายนอก ความต้องการของลูกค้าเปลี่ยน ภัยพิบัติ การเมือง สาเหตุภายใน หลงทางออกนอกธุรกิจหลัก ขาดกลยุทธที่ชัดเจนและผิดพลาด ขยายธุรกิจใหม่มากเกินไป ระบบควบคุมคุณภาพล้มเหลว การบริหารงานไร้ประสิทธิภาพและการไร้ภาวะความเป็นผู้นำ ลักษณะ หุ้นที่ควรหลีกเลี่ยง  10  ประการ - มีความเสี่ยงที่จะล้มละลาย ดูจาก ยอดขาดทุนสะสมมากกว่าส่วนของผู้ถือหุ้น - ผู้ถือหุ้นใหญ่ไม่ยอมซื้อหุ้นเพิ่มทุนฃ - ไม่มีสินค้าหรือบริการที่เด่นเหนือคู่แข่ง - ขาดทรัพยากรที่ช่วยให้พลิกฟื้น - มีประวัติที่เต็มไปด้วยเหตุร้ายที่คาดไม่ถึง - เท...

Cup with handle กับ Inverse head and shoulders

Image
ผมคิดว่าบางครั้งสองรูปแบบนี้มันก็มีจังหวะมามีความคล้ายกันอยู่ ถ้าเราเข้าใจจุดซื้อของทั้งคู่ก็จะช่วยให้ได้จุดซื้อที่มีเปรียบมากขึ้น Cup with handle จุดซื้อที่แนะนำคือตอนที่ราคา breakout จุดสูงสุดของ handle ในแนวระนาบ Inverse head and shoulders จุดซื้อที่ใช่คือตอนที่ราคาทะลุเส้น neckline ขึ้นไป อย่างกับเคสที่เกิดกับ TMB เราสามารถเห็นมันเป็นรูปทรง inverse head and shoulders หรือ cup with handle ก็ได้ ซึ่งถ้ามองผ่านบริบทของแต่ละทรงก็จะได้จุดซื้อที่ต่างกัน - ถ้าใช้ cup with handle จุดซื้อคือตอนที่ราคาทะลุข้ามเส้นสีชมพูบานเย็น ซึ่งปัญหาก็คือต่อมามันเขย่าแรงจนหลุดจุดซื้อของเราให้ตกใจ จนทำให้บางคนเกิดความไม่เชื่อมั่น รีบขายออก - แต่หากมองว่ามันเป็น inverse head and shoulders คุณจะได้จุดซื้อเมื่อราคาทะลุข้ามเส้นกดเฉียงขึ้นไปได้ ซึ่งต่ำกว่าจุดซื้อของ cup with handle พอราคาเขย่าตัวมันก็ไม่หลุดระดับ neckline ลงไปให้ตกใจอย่างแบบแรก ดังนั้น ต่อไปถ้าเห็นทรงแบบนี้ ให้ลองมองหาเส้นกดเฉียงดูก่อนครับ ถ้าเจอก็สามารถเข้าก่อนได้ แต่ก่อนเข้า ท่านต้องมั่นใจนะว่าตัวนั้นพื้นฐานดี มีความน่า...

หุ้นน่าเอาไปทำการบ้านต่อ 28/11/2018

Image
เป็นกราฟที่ผมคิดวว่าน่าสนใจ แต่ก็ไม่รู้ว่าตัวไหนจะไปต่อ หรือวิ่งทำกำไรให้ทันทีนะครับ อนาคตเท่านั้นที่รู้  กราฟเฟล่านี้เป็นเพียงแค่ข้อมูลดิบเท่านั้น ท่านต้องเอาไปทำการบ้านต่อวางแผน - จุดซื้อที่เสี่ยงต่ำ - ระดับ stop loss ถ้าราคากลับตัวแรง - จำนวนเงินเข้าซื้อที่เสี่ยงน้อย หากมีการผิดพลาด ผมไม่เกี่ยวนะ ท่านตัดสินใจเอง ต้องรับผิดชอบเอง

หุ้นน่าเอาไปทำการบ้านต่อ 26/11/2018

Image
ไหนๆก็ทำการบ้านแล้ว ขอเอามาแปะไว้หน่อยก็แล้วกัน เสียดายกราฟ เป็นข้อมูลดิบเท่านั้น ไม่มีเจตนาเชียร์หุ้นแต่อย่างใด

7 บทความยอดนิยมในรอบ 30 วันที่ผ่านมา

คำคมเกี่ยวกับเคล็ดวิชาจากหนังเรื่อง กังฟูแพนด้า

Marios Stamatoudis สวิงเทรดปั้นพอร์ตโต 291.2% ในปีเดียว เขาทำได้อย่างไร?

(มือใหม่เล่นหุ้น) Wyckoff Logic ของดีที่เม่ามือใหม่เอาไปใช้ได้ง่ายๆ

รวมแนวทางการนับคลื่นจากเซียน Elliott Wave

ชมฟรี! คอร์สหุ้น ออนไลน์ 170 คลิป จัดเต็ม ไม่มีกั๊ก Free Full Trading Course by Zyo

VCP (Volatility Contraction Pattern) และรูปแบบที่คล้ายกัน

Oliver Kell: วงจรของการเคลื่อนไหวของราคา (Cycle of Price Action)